วันเสาร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับตำแหน่งที่ตั้ง

คำศัพท์เกี่ยวกับตำแหน่งที่ตั้ง
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องดื่ม

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องครัว-จานชาม

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องครัว-จานชาม
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับคน

คำศัพท์เกี่ยวกับคน
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับกิจกรรมยามว่าง

คำศัพท์เกี่ยวกับกิจกรรมยามว่าง
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว

คำศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย และอวัยวะ

คำศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย และอวัยวะ
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563

ตัวอักษรในภาษาญี่ปุ่น(มีเสียง)

ในระบบการเขียนของภาษาญี่ปุ่นมีการใช้ตัวอักษรร่วมกัน 3 ชุด คือ
  1. ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな) 
  2. ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
  3. ตัวอักษรคันจิ(漢字)
ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな
ใช้สำหรับเขียนคำในภาษาญี่ปนที่ไม่สามารถเขียนเป็นตัวคันจิได้ และคำช่วย
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)












นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)





และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)












ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
ใช้สำหรับเขียนคำยืมจากภาษาต่างประเทศ ที่ไม่ใช่คำจากภาษาจีน
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)











นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)





และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)











ตัวอักษรคันจิ (漢字)
เป็นตัวอักษรภาพที่ยืมมาจากจีน โดยตัวอักษร 1 ตัว จะใช้แทนคำ 1 ความหมาย เช่น
  • 人 แทนคำว่า "คน"
  • 犬 แทนคำว่า "สุนัข"
  • 木 แทนคำว่า "ต้นไม้"
  • 水 แทนคำว่า "น้ำ"
  • 月 แทนคำว่า "ดวงจันทร์"
การอ่านตัวอักษรคันจิ
สามารถอ่านได้ทั้งแบบญี่ปุ่น (คุงโยมิ) โดยจะเป็นเสียงคำดั้งเดิมในภาษาญี่ปุ่น
และแบบจีน (องโยมิ) โดยจะไปพ้องเสียงกับคำในภาษาจีน เช่น
  • 人 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า ひと อ่านแบบจีนได้ว่า じん หรือ にん
  • 犬 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า いぬ อ่านแบบจีนได้ว่า けん
  • 木 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า き     อ่านแบบจีนได้ว่า もく หรือ ぼく
  • 水 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า みず อ่านแบบจีนได้ว่า すい