วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-4 : คำคุณศัพท์ในภาษาญี่ปุ่น (4)

การเปลี่ยนคำคุณศัพท์เป็นคำนาม

1. การเปลี่ยนคำคุณศัพท์ い เป็นคำนาม
ทำได้โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
แล้วเติม み หรือ さ ต่อท้าย
โดยที่  จะใช้ในเชิงอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง
ส่วน  จะใช้ในเชิงการวัดระดับปริมาณ หรือคุณภาพ

ตัวอย่างการเปลี่ยนคำคุณศัพท์ い เป็นคำนาม
ดีใจ嬉しความดีใจ嬉し
嬉し
เสียใจ悲しความเสียใจ悲し
悲し
สนุก楽しความสนุก楽し
楽し
เหงา寂しความเหงา錆し
寂し
กว้างความกว้าง
ยาวความยาว
สูงความสูง
ลึกความลึก

2. การเปลี่ยนคำคุณศัพท์ な เป็นคำนาม
โดยทั่วไปคำคุณศัพท์ な ใช้เป็นคำนามได้ด้วยอยู่แล้ว
แต่ในบางครั้งเราสามารถเติมคำปัจจุัยต่างๆ
เช่น み,さ,性(せい),化(か) ต่อท้าย
เพื่อเป็นการแสดงความหมายเป็นคำนามได้ด้วย
ซึ่งจะเอาไว้อธิบายเพิ่มเติมในส่วนของคำปัจจัย

การเปลี่ยนคำคุณศัพท์เป็นคำกริยา

1. การเปลี่ยนคำคุณศัพท์ い เป็นคำกริยา
สามารถทำได้หลายวิธี

คำคุณศัพท์ い ที่แสดงอารมณ์ความรู้สึก
สามารถเปลี่ยนเป็นคำกริยา
ได้โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
แล้วเติม む ต่อท้าย
ซึ่งจะเป็นคำกริยาที่ใช้ได้กับตนเอง

ตัวอย่าง
สนุกสนาน楽し楽し
เสียใจ悲し悲し
เจ็บ,ปวด
ทรมาน苦し苦し
เสียดาย惜し惜し

ถ้าเป็นคำกริยาที่ตัวเองไม่ได้เป็นผู้กระทำ
แต่เป็นมุมมองของตนเองที่เห็นว่า
คนอื่นเป็นผู้กระทำกริยานั้น
การเปลี่ยนคำคุณศัพท์ い เป็นคำกริยา
ทำได้โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
แล้วเติม がる ต่อท้าย ซึ่งมีความหมายว่า
"เห็นว่าเป็นเช่นนั้น"

ตัวอย่าง
สนุกสนาน楽し楽しがる
เสียใจ悲し悲しがる
กลัวがる
ต้องการ, อยากได้欲し欲しがる

คำคุณศัพท์ い ที่แสดงปริมาณหรือคุณภาพ
สามารถเปลี่ยนเป็นคำกริยา
ได้โดยการตัด い ที่่อยู่ตัวท้ายสุดออก
แล้วเติม める หรือ まる ต่อท้าย
โดยที่ める จะเป็นสกรรมกริยา
หมายถึงการทำให้เกิดสภาพนั้นๆ
ส่วน まる จะเป็นอกรรมกริยา
หมายถึงการเกิดสภาพนั้นๆ

ตัวอย่าง
สูงめるเพิ่ม,ยก(ระดับ),
ทำให้สูงขึ้น
สูงまるสูงขึ้น,รุนแรงขึ้น,
เพิ่มมากขึ้น
กว้างめるแผ่,ทำให้รู้กันทั่ว
กว้างまるแผ่กว้าง
อ่อนแอめるลดระดับความรุนแรง,
หรี่(ไฟ),ทำให้อ่อนแอ,
ทำให้เจือจางลง
อ่อนแอまるอ่อนกำลังลง,สงบลง
เจ็บ,ปวดめるทำให้เจ็บปวด


พยายามจำความหมายของตัวคันจิให้ได้ แล้วใช้เทคนิคการแปลงชนิดคำเหล่านี้ในการจำศัพท์จะทำให้เราสามารถจำคำศัพท์ได้เยอะขึ้นหลากหลายชนิดคำจากคำๆเดียว

ในบทความหน้าจะมาสอนเกี่ยวกับคำกริยานุเคราะห์ต่างๆ

วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-4 : คำคุณศัพท์ในภาษาญี่ปุ่น (3)

วิธีการใช้คำคุณศัพท์

1. ใช้เป็นภาคแสดงของประโยค
    วางอยู่หลังคำช่วยชี้ประธาน() หรือหัวเรื่อง ()
    ซึ่งสามารถใช้คำคุณศัพท์ได้ทุกรูป

ตัวอย่าง 今日暑い
               วันนี้ร้อน

               今日寒くない
               วันนี้ไม่หนาว

                昨日寒かった
                เมื่อวานหนาว

                昨日暑くなかった
                เมื่อวานไม่ร้อน

                彼女奇麗
                เธอสวย

                元気じゃない
                ฉันไม่สบาย

                有名だった
                เขาเคยมีชื่อเสียง

2. ใช้ขยายหน้าคำนาม
   จะใช้แค่คำคุณศัพท์ที่ไม่ได้อยู่ในรูปสุภาพเท่านั้น  

    คำคุณศัพท์ い ทุกรูป
    สามารถวางหน้าคำนามได้เลย

ตัวอย่าง 大きい
               สุนัขตัวใหญ่

               可愛い
               แมวตัวที่น่ารัก

               高くない
               คนที่ไม่สูง

    คำคุณศัพท์ な
    รูปทั่วไปจะต้องมีคำช่วย คั่น
    (บางครั้งอาจใช้เป็น )
    ส่วนรูปที่เหลือสามารถวางหน้าคำนามได้เลย  

ตัวอย่าง 好き動物
               สัตว์ที่ชอบ

               有名
      คนที่มีชื่อเสียง

               病気だった
               คนที่เคยป่วย       

               必要じゃない
               ของที่ไม่จำเป็น

3. ใช้ขยายหน้าคำกริยา
    จะใช้รูปทั่วไปเท่านั้น

    คำคุณศัพท์ い
    จะต้องเปลี่ยน い ที่อยู่ตัวท้ายสุดให้เป็น く ก่อน
    แล้วจึงนำมาวางไว้ที่หน้าคำกริยา

ตัวอย่าง 子供楽しく遊んでいる
                เด็กกำลังเล่นอย่างสนุกสนาน

                早く起きて
                ตื่นให้ไว

    คำคุณศัพท์ な
    จะต้องมีคำช่วย คั่น

ตัวอย่าง 奇麗歌った
               ร้องเพลงเพราะ

                一生懸命頑張る
                จะพยายามอย่างเต็มที่

บทที่ 2-4 : คำคุณศัพท์ในภาษาญี่ปุ่น (2)

วิธีผันรูปคำคุณศัพท์ให้อยู่ในรูปต่างๆ

0. คำคุณศัพท์รูปทั่วไปที่ยังไม่ผัน
    
    คำคุณศัพท์ い
    ไม่จำเป็นต้องเติม ต่อท้ายเพื่อจบประโยค
    ในกรณีที่ผันเป็นรูปสุภาพให้เติม です ต่อท้าย

    คำคุณศัพท์ な
    ต้องเติม ต่อท้ายเพื่อจบประโยคเสมอ
    ในกรณีที่ผันเป็นรูปสุภาพให้เปลี่ยน เป็น です

1. การผันคำคุณศัพท์เป็นรูปปฏิเสธ

    คำคุณศัพท์ い
    ผันโดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
    แล้วเติม くない ต่อท้าย

ตัวอย่าง
ร้อนくないไม่ร้อน
หนาวくないไม่หนาว
ไกลくないไม่ไกล
可愛น่ารัก可愛くないไม่น่ารัก
หมายเหตุ สามารถผันเป็นรูปสุภาพได้โดยการเติม です ต่อท้าย

    คุณศัพท์ な
    ผันโดยการเปลี่ยน だ เป็น ではない (ภาษาเขียน)
    หรือ じゃない (ภาษาพูด)

ตัวอย่าง
元気สบายดี元気じゃないไม่สบาย
奇麗สวย奇麗じゃないไม่สวย
好きชอบ好きじゃないไม่ชอบ
上手เก่ง上手じゃないไม่เก่ง
หมายเหตุ สามารถผันเป็นรูปสุภาพได้โดยการเปลี่ยน ない เป็น ありません

2. การผันคำคุณศัพท์เป็นรูปอดีต

    คำคุณศัพท์ い
 ผันโดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
    แล้วเติม かった ต่อท้าย

ตัวอย่าง
楽しสนุก楽しかったสนุก(อดีต)
寂しเหงา寂しかったเหงา(อดีต)
เจ็บปวดかったเจ็บปวด(อดีต)
苦しทรมาน苦しかったทรมาน(อดีต)
หมายเหตุ สามารถผันเป็นรูปสุภาพได้โดยการเติม です ต่อท้าย

    คำคุณศัพท์ な
    ผันโดยการเปลี่ยน ที่ต่อท้ายเป็น だった

ตัวอย่าง
幸せมีความสุข幸せだったมีความสุข(อดีต)
有名มีชื่อเสียง有名だったมีชื่อเสียง(อดีต)
便利สะดวกสบาย便利だったสะดวกสบาย(อดีต)
大変ยากลำบาก大変だったยากลำบาก(อดีต)
หมายเหตุ สามารถผันเป็นรูปสุภาพได้โดยการเปลี่ยน だった เป็น でした

3. การผันคำคุณศัพท์เป็นรูปอดีตปฏิเสธ

    คำคุณศัพท์ い
    ให้ผันต่อจากรูปปฏิเสธทั่วไป (くない)
    โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
    แล้วเติม かった ตอท้าย

ตัวอย่าง
暑くなไม่ร้อน暑くなかったไม่ร้อน(อดีต)
寒くなไม่หนาว寒くなかったไม่หนาว(อดีต)
遠くなไม่ไกล遠くなかったไม่ไกล(อดีต)
可愛くなไม่น่ารัก可愛くなかったไม่น่ารัก(อดีต)
หมายเหตุ สามารถผันเป็นรูปสุภาพได้โดยการเติม です ต่อท้าย

    คำคุณศัพท์ な
    ให้ผันต่อจากรูปปฏิเสธทั่วไป (じゃない)
    โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
    แล้วเติม かった ต่อท้าย

ตัวอย่าง

元気じゃなไม่สบาย元気じゃなかったไม่สบาย(อดีต)
奇麗じゃなไม่สวย奇麗じゃなかったไม่สวย(อดีต)
好きじゃなไม่ชอบ好きじゃなかったไม่ชอบ(อดีต)
上手じゃなไม่เก่ง上手じゃなかったไม่เก่ง(อดีต)
หมายเหตุ ในการผันเป็นรูปสุภาพให้เปลี่ยน なかった เป็น ありませんでした

วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-4 : คำคุณศัพท์ในภาษาญี่ปุ่น (1)

คำคุณศัพท์ (形容詞・けいようし)
หมายถึง คำที่ใช้เพื่ออธิบายรายละเอียด หรือลักษณะต่างๆ ของคำนามเพิ่มเติม ซึ่งแบ่งออกเป็น

1. คำคุณศัพท์ い (イ形容詞)
    หมายถึง คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย
    (คำที่มี สะกดด้วยฮิารางานะ ไม่ใช่คันจิ) 
    ซึ่งในภาษาญี่ปุ่นนั้นนับว่าเป็นคำคุณศัพท์แท้
    และ เมื่อใช้ขยายหน้าคำนามไม่ต้องมีคำช่วย

คำคุณศัพท์ い พื้นฐานที่ควรรู้ไว้
ดีใจうれしい嬉しい
เสียใจかなしい悲しい
สนุกสนานたのしい楽しい
เบื่อつまらない詰まらない
เหงาさびしい寂しい
น่าสนใจおもしろい面白い
หนวกหู,น่ารำคาญうるさい煩い
เสียดายおしい惜しい
เจ็บใจくやしい悔しい
เจ็บปวดいたい痛い
ทรมานくるしい苦しい
ร้อนあつい暑い
อบอุ่นあったかい暖かい
เย็นสบายすずしい涼しい
หนาวさむい寒い
อุ่น(เมื่อสัมผัส)ぬるい温い
เย็น(เม่ือสัมผัส)つめたい冷たい
ใหญ่おおきい大きい
เล็กちいさい小さい
สูง,แพง(ราคา)たかい高い
ถูก(ราคา)やすい安い
เตี้ย,ต่ำひくい低い
ยาวながい長い
สั้นみじかい短い
อ้วน,หนาふとい太い
ผอม,เพรียวほそい細い
ตื้นあさい浅い
ลึกふかい深い
หนาあつい厚い
บางうすい薄い
กว้างひろい広い
แคบせまい狭い
หนักおもい重い
เบาかるい軽い
เก่าふるい古い
ใหม่あたらしい新しい
ดีいい好い
ไม่ดีわるい悪い
แย่,เลวร้ายやばい
ใกล้ちかい近い
ไกลとおい遠い
ช้าおそい遅い
เร็วはやい速い
น้อยすくない少ない
มากおおい多い
ต้องการ,อยากได้ほしい欲しい
สีขาวしろい白い
สีดำくろい黒い
สีแดงあかい赤い
สีน้ำเงินあおい青い
สีเหลืองきいいろい黄色い
สีน้ำตาลちゃいろい茶色い
สว่าง,สดใสร่าเริงあかるい明るい
มิดมน,หม่นหมองくらい暗い
สะอาด,บริสุทธิ์きよい清い
สกปรกきたない汚い
เน่าเสีย,เหม็นくさい臭い
สวย,งดงามうつくしい美しい
น่ารักかわいい可愛い
น่ากลัวこわい怖い
น่ากลัวおそろしい恐ろしい
น่าขำ,ตลก,แปลกおかしい可笑しい
งี่เง่าばかばかしい馬鹿馬鹿しい
เสียงดัง,หนวกหู,
น่ารำคาญ
やかましい喧しい
น่าสมเพช,น่าเวทนาなさけない情けない
หวนหา,น่าคิดถึงなつかしい懐かしい
น่าอิจฉาうらやましい羨ましい
แปลก,ประหลาด,
หายาก,ไม่ค่อยได้เห็น
めずらしい珍しい
แข็งแรงつよい強い
อ่อนแอよわい弱い
แข็ง,หยาบ,สากかたい硬い
อ่อนนุ่มやわらかい柔らかい
หนุ่มสาวわかい若い
นุ่มนวล,ใจดี,
เป็นสุภาพบุรุษ
やさしい優しい
โหดร้าย,รุนแรงひどい酷い
รุนแรง,ดุเดือดはげしい激しい
อันตรายあぶない危ない
น่าสงสัย,ไม่น่าไว้ใจあやしい怪しい
น่าเชื่อถือ,พึ่งพาได้たのもしい頼もしい
สุดยอดすごい凄い
เก่ง,ยิ่งใหญ๋,
เป็นใหญ่เป็นโต
えらい偉い
ยอดเยี่ยม,วิเศษ,เจ๋งすばらしい素晴らしい
ฉลาดปราดเปรื่องかしこい賢い
ง่ายやさしい易しい
ยากむずかしい難しい
ละเอียดถี่ถ้วนくわしい詳しい
ดี,สะดวกよろしい宜しい
ยุ่ง,รีบเร่งいそがしい忙しい
อร่อยおいしい美味しい
อร่อยうまい旨い
ไม่อร่อย,ไม่ได้เรื่องまずい不味い
เปรี้ยวすっぱい酸っぱい
หวานあまい甘い
มัน,เลี่ยนあぶらっこい脂っこい
เผ็ดからい辛い
เค็มしおからい塩辛い

2. คำคุณศัพท์ な(ナ形容詞)
    หมายถึง คำคุณศัพท์ที่สามารถเป็นคำนามได้ด้วย
    และเมื่อนำมาขยายหน้าคำนามจะต้องมีคำช่วย 

คำคุณศัพท์ な พื้นฐานที่ควรรู้ไว้ 
สุขภาพ,มีสุขภาพดีけんこう健康
สบายดี,แข็งแรงげんき元気
ป่วยびょうきびょうき
มีความสุข,โชคดีしあわせ幸せ
เป็นทุกข์,เคราะห์ร้ายふこう不幸
สบายๆ,ผ่อนคลายらく
ยากลำบาก,หนักหนาสาหัสたいへん大変
สบายใจ,หายห่วงあんしん安心
เป็นห่วง,กังวลしんぱい心配
ผิดหวัง,น่าเสียดายざんねん残念
เสียใจกับเรื่องที่ผ่านมาแล้วこうかい後悔
แข็งแรง,ทนทานじょうぶ丈夫
มั่นคง,มีเสถียรภาพあんてい安定
ปลอดภัยあんぜん安全
อันตรายきけん危険
สะดวกสบายべんり便利
ลำบากふべん不便
ว่างひま
อิสระじゆう自由
ง่ายかんたん簡単
ยาก,สลับซับซ้อนふくざつ複雑
เก่ง,ชำนาญじょうず上手
ไม่เก่ง,ไม่ชำนาญへた下手
โอเค,ไม่เป็นไรだいじょうぶ大丈夫
ห่วย,ใช้ไม่ได้,อย่าทำだめ
ดีแล้ว,พอแล้วけっこう結構
เป็นไปไม่ได้,ไร้เหตุผลむり無理
สวยงาม,สะอาด,ไพเราะきれい奇麗
หยาบคาย,เสียมารยาทしつれい失礼
ใจดีしんせつ親切
ชอบすき好き
ชอบมากだいすき大好き
ไม่ชอบ,เกลียดきらい嫌い
ไม่ชอบ,เกลียดいや
สำคัญ(ต่อตนเอง)だいじ大事
สำคัญ(จำเป็น,มีคุณค่า)たいせつ大切
จำเป็นひつよう必要
เพียงพอ,เหลือเฟือじゅうぶん十分
หลากหลาย,มากมาย,
สารพัด
いろいろ色々
เหมาะสมてきとう適当
แปลกへん
พิเศษとくべつ特別
จริงจัง,เอางานเอาการまじめ真面目
ตั้งใจ,ใส่ใจ,มุ่งมั่นねっしん熱心
พยายามอย่างเต็มที่いっしょうけんめい一生懸命
สง่างาม,น่านับถือ,
ใหญ่โต
りっぱりっぱ
ตรงไปข้างหน้าまっすぐ真っ直ぐ

เยอะหน่อยนะ แต่ถ้าจำได้หมดนี่มีประโยชน์ในการเรียนภาษาญี่ปุ่นแน่นอน ในบทความหน้าเราจะมาสอนเกี่ยวกับวิธีการใช้คำคุณศัพท์ในรูปแบบต่างๆ 

วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-3 : คำกริยาในภาษาญี่ปุ่น (9)

คำกริยาที่เป็นคำนาม + する
คำกริยาชนิดนี้จัดอยู่ในคำกริยากลุ่มที่ 3
ซึ่งเดิมจะทำหน้าที่เป็นคำนาม
แต่เมื่อเติม する ต่อท้ายไป
จะทำหน้าที่เป็นคำกริยา

คำกริยาคำนาม+するพื้นฐานที่ควรรู้ไว้
ใช้ชีวิต,ดำเนินชีวิต3せいかつする生活する
ทำอาหาร3りょうりする料理する
กิน,รับประทาน(อาหาร)3しょくじする食事する
เรียน,ศึกษา3べんきょうする勉強する
ค้นคว้า,วิจัย3けんきゅうする研究する
เข้าใจ3りかいする理解する
ทำงาน3しごとする仕事する
ประชุม3かいぎする会議する
ได้รับประสบการณ์3けいけんする経験する
ออกกำลังกาย3うんどうする運動する
รักษา
(ทางการแพทย์)
3ちりょうする治療する
พักผ่อน3きゅうけいする休憩する
แนะนำให้รู้จัก3しょうかいする紹介する
สนทนา,พูดคุย3かいわする会話する
ติดต่อ,สื่อสาร3れんらくする連絡する
นำทาง3あんないする案内する
ขับรถ3うんてんする運転する
ท่องเที่ยว
(ไปที่ไกลๆ)
3りょこうする旅行する
พักอาศัย3たいざいする滞在する
ไปช้อปปิ้ง3かいものする買い物する
อ่าน(หนังสือ)3どくしょする読書する
แสดงความคิดเห็น3いけんする意見する
เห็นด้วย3さんせいする賛成する
คัดค้าน3はんたいする反対する
เชิญ3しょうたいする招待する
เข้าร่วม3さんかする参加する
ให้ความร่วมมือ3きょうりょくする協力する
คบหา3こうさいする交際する
แต่งงาน3けっこんする結婚する
มีความสัมพันธ์,
เกี่ยวข้อง
3かんけいする関係する
จดจำ3きおくする記憶する
จินตนาการ3そうぞうする想像する
ต้องการ,คาดหวัง3きぼうする希望する
พยายาม3どりょくする努力する
ฝึกฝน3れんしゅうする練習する
ประสบความสำเร็จ3せいこうする成功する
ล้มเหลว3しっぱいする失敗する

คำกริยาเหล่านี้เมื่อไม่มี する มาต่อท้าย
จะทำหน้าเป็นคำนาม ซึ่งมีความหมายดังนี้

การใช้ชีวิต,
ชีวิตความเป็นอยู่
せいかつ生活
อาหารりょうり料理
การกิน,
การรับประทานอาหาร
しょくじ食事
การเรียน,การศึกษาべんきょう勉強
การค้นคว้าวิจัยけんきゅう研究
ความเข้าใจりかい理解
งานการしごと仕事
การประชุมかいぎ会議
ประสบการณ์けいけん経験
การออกกำลังกายうんどう運動
การรักษาเยียวยาちりょう治療
การพักผ่อน,
การหยุดพัก
きゅうけい休憩
การแนะนำ(ให้รู้จัก)しょうかい紹介
การสนทนาかいわ会話
การติดต่อสื่อสารれんらく連絡
การนำทางあんない案内
การขับรถうんてん運転
ท่องเที่ยว(ไปที่ไกลๆ)りょこう旅行
การพักอาศัยอยู่
ณ ข่วงเวลาหนึ่ง
たいざい滞在
การไปช้อปปิ้งかいもの買い物
การอ่านどくしょ読書
ความคิดเห็นいけん意見
การเห็นด้วยさんせい賛成
การคัดค้านはんたい反対
การเขิญชวนしょうたい招待
การเข้าร่วมさんか参加
ความร่วมมิอきょうりょく協力
การคบหาสมาคมこうさい交際
การแต่งงานけっこん結婚
ความสัมพันธ์,
ความเกี่ยวข้อง
かんけい関係
ความทรงจำ,ความจำきおく記憶
จินตนาการそうぞう想像
ความหวัง,ความต้องการきぼう希望
ความพยายามどりょく努力
การฝึกฝนれんしゅう練習
ประสบความสำเร็จせいこう成功
ความผิดพลาด,
ความล้มเหลว
しっぱい失敗

การเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนาม

1. การเปลี่ยนคำกริยาเป็นอาการนาม
    ทำได้โดยการเติม こと เข้าไป
    หลังคำกริยารูปพจนานุกรม (V-Dict.)

ตัวอย่างการเติม こと หลัง V-Dict.
食べることการกิน
飲むことการดื่ม
言うことการพูด
読むことการอ่าน
書くことการเขียน

หมายเหตุ ในบางครั้งสามารถใช้ แทนได้
                   หากลงท้ายประโยคด้วย V-Dict. + こと จะมีความหมายเป็นการบอกหรือบังคับให้ต้องทำตามคำสั่งหรือตามกฎ

2. การเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนามสิ่งของ
    ทำได้โดยการผันคำกริยาเป็น V-ます
    แล้วทำการตัด ます ออก
    จากนั้นเติม 物 (もの) ต่อท้าย

ตัวอย่างการเติม もの หลัง V-ます ตัด ます
食べของกิน
飲みเครื่องดื่ม
読みหนังสือ หรือสิ่งที่มีไว้อ่าน
書きงานเขียน,ลายลักษณ์อักษร
(สิ่งที่เขียน)
売りของที่ขาย
借りของที่เช่า หรือยืมมา
入れภาชนะ
(สิ่งที่มีไว้ใส่)
忘れของที่ลืมไว้

ข้อควรระวัง การเติม もの หลัง V-ます ในบางครั้งอาจไม่ได้มีความหมายว่าเป็น "สิ่งของ" เสมอไป ตัวอย่างเช่น 買い物 ที่แปลว่า "ซื้อของ" ไม่ใช่ "ของที่ซื้อ"

3. การเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนามทั่วไป
    ทำได้โดยการผันคำกริยาเป็น V-ます
    แล้วทำการตัด ます ออก

ตัวอย่าง
考えความคิด
休みพักผ่อน (คำนาม)
使いการใข้,ผู้ใช้
読みอ่าน (คำนาม)

วันเสาร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-3 : คำกริยาในภาษาญี่ปุ่น (8)

กาลของคำกริยา
ในภาษาญี่ปุ่นนั้น
คำกริยาที่อยู่ในรูปพจนานุกรม (V-Dict),
รูปปฏิเสธทั่วไป (V-ない),
รูปถูกกระทำ-ให้กระทำ-ถูกให้กระทำ
ที่ลงท้ายด้วย และ ない
รวมถึงรูปสุภาพของทุกรูปที่กล่าวมา
(ที่ผันเป็น ます และ ません)
โดยทั่วไป
จะเป็นคำกริยาที่แสดงการกระทำในอนาคต
เป็นการกระทำที่กำลังจะเกิดขึ้น
ไม่ใช่การกระทำที่ทำไปแล้ว หรือกำลังทำอยู่

ตัวอย่างเช่น
学校行く
จะไปโรงเรียน

飲まない
จะไม่ดื่มน้ำ

ยกเว้น คำกริยาบางคำซึ่งสามารถใช้
บอกการกระทำที่เป็นปัจจุบันได้ด้วย
ได้แก่ คำกริยาที่เกี่ยวข้องกับการมี-อยู่,
ความสามารถ-การรับรู้
รวมไปถึงความรู้สึกนึกคิด

ตัวอย่างเช่น
今日、いる 
วันนี้ อยู่บ้าน

明日、ない 
พรุ่งนี้ จะไม่อยู่บ้าน

今、お金ない 
ตอนนี้ ไม่มีเงิน

山(やま)見える 
มองเห็นภูเขา

聞こえる 
ได้ยินเสียงนก

เราสามารถใช้คำกริยารูปพจนานุกรม (V-Dict)
เพื่อบอกการกระทำที่เป็นจริงเสมอไม่เปลี่ยนแปลง
โดยไม่ต้องมีกาล เช่น กฏทางธรรมชาติ,
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์
นอกจากนี้ยังสามารถใช้บอกการกระทำที่เกิดขึ้นซ้ำๆ
เป็นประจำในช่วงปัจจุบัน หรือ กิจวัตรได้ด้วย

ตัวอย่างเช่น
太陽(たいよう)西(にし)から昇る(のぼる)
พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก

毎朝(まいあさ)走る
ฉันวิ่งทุกเช้า

การจะบอกว่ากำลังทำกริยานั้นอยู่
หรือ ยังคงสภาพนั้นอยู่
จะใช้รูป + いる
ซึ่งสามารถผันเป็นรูป V-て+いない
เพื่อบอกปฏิเสธว่าไม่ได้ทำกริยานั้นอยู่ได้
นอกจากนี้ยังสามาถผันเป็นรูปอดีต
และรูปสุภาพต่อได้ด้วย

ตัวอย่างเช่น
本(ほん)んでいる
กำลังอ่านหนังสือ

テレビている
กำลังดูทีวี

การจะบอกว่าได้ทำกริยานั้นไปแล้วก่อนที่จะพูด
จะใช้รูปอดีต (V-た) และรูปอื่นที่ลงท้ายด้วย
รวมถึงรูปสุภาพของรูปดังกล่าว

ตัวอย่างเช่น
んだ
อ่านหนังสือแล้ว

言ったこと分かった
เข้าใจที่พูดมาแล้ว

お金払っ
จ่ายเงินไปแล้ว

การปฏิเสธถึงการกระทำที่ไม่ได้ทำในอดีตนั้น
จะใช้รูปอดีตปฏิเสธ (V-なかった) 
และรูปอื่นที่ลงท้ายด้วย なかった
รวมถึงรูปสุภาพของรูปดังกล่าว

ตัวอย่างเช่น
なかった
ไม่ได้นอน

昨日、働かなかった
เมื่อวาน ไม่ได้ทำงาน

การใช้คำกริยามาขยายหน้าคำนาม
สามารถใช้คำกริยาที่อยู่ในรูปพจนานุกรม และหรือ
รูปที่ลงท้ายด้วยる, ない, た, なかった ได้ทุกรูป
จะไม่ใช้รูปสุภาพมาขยายหน้าคำนาม

ตัวอย่างเช่น
寝る
คนที่จะนอน

行かない
คนที่จะไม่ไป

食べ
คนที่กินแล้ว

書ける
คนที่เขียนได้

読まなかった
คนที่ไม่ได้อ่าน

っている
คนที่(กำลัง)นั่งอยู่

ってない
คนที่ยังไม่กลับ

คำกริยาพื้นฐานที่ควรรู้ไว้ (2)
ส่งของ1おくる送る
ร้องขอ(ต้องการ)2もとめる求める
แพ็ค,ห่อ1つつむ包む
พอใช้(มีเหลือ)2たりる足りる
ให้ยืม1かす貸す
ยื่นส่ง1わたす渡す
ลดลง1へる減る
เพิ่มขึ้น2ふえる増える
ลดให้น้อยลง1へらす減らす
เพิ่มให้มากขึ้น1ふやす増やす
เพิ่มเข้า(รวมเข้าไปด้วย)2くわえる加える
เอาออก(ไม่รวม)1ぬく抜く
สอด,ใส่2いれる入れる
นำไปส่ง2とどける届ける
ส่่งไปถึง1とどく届く
ดึง,ลาก1ひく引く
กด,ผลัก1おす押す
จับ,แตะ1さわる触る
แปะ,ติด1はる貼る
ทำผิดพลาด2まちがえる間違える
แตกต่าง(ไม่เหมือน,ไม่ใช่)1ちがう違う
สร้างขึ้น1つくる作る
ทำพัง,ทำลาย1こわす壊す
เสียหาย,แตกพัง2こわれる壊れる
ซ่อมแซม1なおす直す
แลก(สลับกัน)2かえる換える
เปลี่ยน2かえる変える
เลียนแบบ2まねる真似る
แจกจ่าย1くばる配る
แจ้งให้ทราบ2しらせる知らせる
หาพบ2みつける見つけた
หลบซ่อน2かくれる隠れる
ตรวจสอบ2しらべる調べる
มอบหมาย,ให้งาน2まかせる任せる
จ้างวาน1やとう雇う
ลาออก2やめる辞める
เชิญ,ชวน1さそう誘う
รวมตัว1あつまる集まる
หารือ1はなしあう話し合う
ร่วมมือ1くむ組む
สนับสนุน(ค้ำจุน)2ささえる支える
เปิดติด
(ไฟ,เครื่องใช้ไฟฟ้า)
2つける点ける
ปิดดับ
(ไฟ,เครื่องใช้ไฟฟ้า)
1けす消す
เปิดออก
(ประตู,หน้าต่าง,ฝา)
2あける開ける
ปิดกลับ
(ประตู,หน้าต่าง,ฝา)
2しめる閉める
กลั่นแกล้ง,รังแก2いじめる苛める
ปกป้อง,รักษา(กฏ)1まもる守る
ฉีก,แหก(กฏ)1やぶる破る
ตัดきる切る
แบ่ง2わける分ける
ต่อแถว1ならぶ並ぶ
เรียง2ならべる並べる
ล้อม1かこむ囲む
ยอมให้,ยกโทษ1ゆるす許す
ห้ามปราม2きんじる禁じる
ให้ดู2みせる見せる
เห็นชอบ,ยอมรับ2みとめる認める
ปฏิเสธ1ことわる断る
เดือดร้อน1こまる困る
ให้กำลังใจ1はげます励ます
แก้ไข(ปัญหา)1とく解く
ปลอบโยน2なぐさめる慰める
ตะโกน1さけぶ叫ぶ
กระซิบ1ささやく囁く
หุบปาก,เงียบ1だまる黙る
ดุว่า1しかる然る
ชื่นชม2ほめる褒める
เชื่อถือ,เชื่อมั่น2しんじる信じる
บ่งบอก,ชี้ให้เห็น2しめす示す
โดดเด่น,สะดุดตา1めだつ目立つ
โยน,ขว้าง,ปา2なげる投げる
เก็บขึ้นมา1ひろう拾う
ทิ้ง(สิ่งของ)2すてる捨てる
ขยับ1うごく動く
จับไว้1にぎる握る
คว้า,ยึด1つかむ掴む
ขนของ1はこぶ運ぶ
เสีย(เวลา)1かかる
เหนื่อยล้า2つかれる疲れる
ฉลอง1いわう祝う

วันพุธที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563

บทที่ 2-3 : คำกริยาในภาษาญี่ปุ่น (7)

10. การผันคำกริยาเป็นรูปถูกกระทำ
      (V-れる)

   คำกริยากลุ่มที่ 1
   ผันโดยการเปลี่ยนเสียงสระอุที่อยู่ตัวท้ายสุด
   ให้เป็นเสียงสระอะ แล้วเติม れる ต่อท้าย

ตัวอย่าง
พูดわれるถูกกล่าว
รอたれるถูกรอ
สร้างられるถูกสร้าง
เขียนかれるถูกเขียน
อ่านまれるถูกอ่าน

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด る ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม られる ต่อท้าย

ตัวอย่าง
食べกิน食べられるถูกกิน
ดูられるถูกมอง
教えสอน教えられるถูกสอน
忘れลืม忘れられるถูกลืม

หมายเหตุ รูปถูกกระทำของคำกริยากลุ่มที่ 2 จะใช้รูปเดียวกันกับรูปสามารถ

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る (くる)
   เป็น 来られる (こられる)
   และเปลี่ยน する เป็น される

ตัวอย่าง
くるมาこられるถูกมา
するทำされるถูกทำ

11. การผันคำกริยาเป็นรูปให้กระทำ
      (V-させる)

   คำกริยากลุ่มที่ 1
   ผันโดยการเปลี่ยนเสียงสระอุที่อยู่ตัวท้ายสุด
   ให้เป็นเสียงสระอะ แล้วเติม せる ต่อท้าย

ตัวอย่าง
พูดわせるให้พูด
รอたせるให้รอ
สร้างらせるให้สร้าง
เขียนかせるให้เขียน
อ่านませるให้อ่าน

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด る ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม らせる ต่อท้าย

ตัวอย่าง
食べกิน食べらせるให้กิน
教えสอน教えらせるให้สอน
覚えจำ覚えらせるให้จำ
忘れลืม忘れらせるให้ลืม

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る (くる)
   เป็น 来される (こさせる)
   และเปลี่ยน する เป็น させる

ตัวอย่าง
くるมาこさせるให้มา
するทำさせるให้ทำ

12. การผันคำกริยาเป็นรูปถูกให้กระทำ
      (V-させられる)

   คำกริยากลุ่มที่ 1
   ผันโดยการเปลี่ยนเสียงสระอุที่อยู่ตัวท้ายสุด
   ให้เป็นเสียงสระอะ แล้วเติม される

ตัวอย่าง
พูดわされるถูกให้พูด
ยืนたされるถูกให้ยืน
ทำらされるถูกให้ทำ
เขียนかされるถูกให้เขียน
อ่านまされるถูกให้อ่าน

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด る ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม させられる ต่อท้าย

ตัวอย่าง
食べกิน食べさせられるถูกให้กิน
นอนさせられるถูกให้นอน
起きตื่นきさせられるถูกให้ตื่น

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る (くる)
   เป็น 来させられる (こさせられる)
   และเปลี่ยน する เป็น させられる

ตัวอย่าง
くるมาこさせられるถูกให้มา
するทำさせられるถูกให้ทำ

นอกจากการผันให้อยู่ในรูปทั่วไปแล้ว 
คำกริยารูปถูกกระทำ-ให้กระทำ-ถูกให้กระทำ 
ทั้ง 3 รูปนี้ ยังสามารถ
ผันต่อเป็นรูป ますเพื่อแสดงความสุภาพ 
ผันเป็นรูป  เพื่อแสดงอดีต
ผันเป็นรูป เพื่อเป็นการบอกให้ทำแบบกันเอง 
ผันเป็นรูป ない เพื่อแสดงการปฏิเสธได้อีกด้วย 
โดยใช้หลักการผันเดียวกันกับการผันคำกริยากลุ่มที่ 2 จากรูปพจนานุกรมให้เป็นรูปต่างๆ 
หรือก็คือการตัด る ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก แล้วเติมคำกริยานุเคราะห์ต่างๆ (ます, た,て,ない) ต่อท้าย