วันเสาร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับตำแหน่งที่ตั้ง

คำศัพท์เกี่ยวกับตำแหน่งที่ตั้ง
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องดื่ม

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องครัว-จานชาม

คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องครัว-จานชาม
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันศุกร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับคน

คำศัพท์เกี่ยวกับคน
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563

คำศัพท์เกี่ยวกับกิจกรรมยามว่าง

คำศัพท์เกี่ยวกับกิจกรรมยามว่าง
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว

คำศัพท์เกี่ยวกับครอบครัว
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

คำศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย และอวัยวะ

คำศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย และอวัยวะ
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)

วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563

ตัวอักษรในภาษาญี่ปุ่น(มีเสียง)

ในระบบการเขียนของภาษาญี่ปุ่นมีการใช้ตัวอักษรร่วมกัน 3 ชุด คือ
  1. ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな) 
  2. ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
  3. ตัวอักษรคันจิ(漢字)
ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな
ใช้สำหรับเขียนคำในภาษาญี่ปนที่ไม่สามารถเขียนเป็นตัวคันจิได้ และคำช่วย
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)












นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)





และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)












ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
ใช้สำหรับเขียนคำยืมจากภาษาต่างประเทศ ที่ไม่ใช่คำจากภาษาจีน
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)











นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)





และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้
(สามารถกดเพื่อฟังเสียงได้)











ตัวอักษรคันจิ (漢字)
เป็นตัวอักษรภาพที่ยืมมาจากจีน โดยตัวอักษร 1 ตัว จะใช้แทนคำ 1 ความหมาย เช่น
  • 人 แทนคำว่า "คน"
  • 犬 แทนคำว่า "สุนัข"
  • 木 แทนคำว่า "ต้นไม้"
  • 水 แทนคำว่า "น้ำ"
  • 月 แทนคำว่า "ดวงจันทร์"
การอ่านตัวอักษรคันจิ
สามารถอ่านได้ทั้งแบบญี่ปุ่น (คุงโยมิ) โดยจะเป็นเสียงคำดั้งเดิมในภาษาญี่ปุ่น
และแบบจีน (องโยมิ) โดยจะไปพ้องเสียงกับคำในภาษาจีน เช่น
  • 人 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า ひと อ่านแบบจีนได้ว่า じん หรือ にん
  • 犬 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า いぬ อ่านแบบจีนได้ว่า けん
  • 木 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า き     อ่านแบบจีนได้ว่า もく หรือ ぼく
  • 水 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า みず อ่านแบบจีนได้ว่า すい

วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

บทที่ 2-5 : คำกริยานุเคราะห์ในภาษาญี่ปุ่น (2)

9. ~ます

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ます
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ます
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ます 
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ます
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ます

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
コンビニ行きます
(ฉัน)จะไปร้านสะดวกซื้อ

買います
เขาจะซื้อบ้าน

会社働いています
(ฉัน)กำลังทำงานอยู่ที่บริษัท

あの速く泳げます
คนคนนั้นสามารถว่ายน้ำได้อย่างรวดเร็ว



10. ~ません

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ません
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ません
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ません
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ません
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ません

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปปฏิเสธแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
分かりません
ไม่เข้าใจ

できません
ทำไม่ได้, ไม่สามารถทำได้

お金ありません
ไม่มีเงิน



11. ~ました

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ました
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ました
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ました
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ました
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ました

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปอดีตแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
この勉強しました
(ฉัน)ได้ศึกษาเรื่องนี้มาแล้ว

料理食べました
(ฉัน)รับประทานอาหารแล้ว

終わりました
(มัน)จบแล้ว



12. ~ませんでした

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ませんでした
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ませんでした

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปปฏิเสธอดีตแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
飲みませんでした
(ฉัน)ไม่ได้ทานยา

昨夜ませんでした
เมื่อคืน(ฉัน)ไม่ได้นอน



13. ~ましょう

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ましょう

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปชักชวนแบบสุภาพ

行きましょう
ไปกันเถอะ

遊びましょう
มาเล่นกันเถอะ

やりましょう
ทำกันเถอะ



สรุป
ます, ません, ました, ませんでした, ましょう
ทั้งหมดนี้ใช้เติมหลังคำกริยาทำให้อยู่ในรูปสุภาพ
โดย ます ใช้สื่อถึงสื่งที่จะทำในปัจุบัน และอนาคต
ません ใช้ปฏิเสธการกระทำในปัจจุบัน และอนาคต
ました ใช้สื่อถึงสิ่งที่ทำลงไปแล้วในอดีต
ませんでした ใช้สื่อถึงสิ่งที่ไม่ได้ทำในอดีต
ましょう ใช้ในการชักชวนผู้อื่นให้มาร่วมทำกริยานั้นๆ