วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

บทที่ 2-5 : คำกริยานุเคราะห์ในภาษาญี่ปุ่น (2)

9. ~ます

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ます
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ます
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ます 
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ます
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ます

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
コンビニ行きます
(ฉัน)จะไปร้านสะดวกซื้อ

買います
เขาจะซื้อบ้าน

会社働いています
(ฉัน)กำลังทำงานอยู่ที่บริษัท

あの速く泳げます
คนคนนั้นสามารถว่ายน้ำได้อย่างรวดเร็ว



10. ~ません

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ません
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ません
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ません
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ません
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ません

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปปฏิเสธแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
分かりません
ไม่เข้าใจ

できません
ทำไม่ได้, ไม่สามารถทำได้

お金ありません
ไม่มีเงิน



11. ~ました

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ました
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ました
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ました
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ました
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ました

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปอดีตแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
この勉強しました
(ฉัน)ได้ศึกษาเรื่องนี้มาแล้ว

料理食べました
(ฉัน)รับประทานอาหารแล้ว

終わりました
(มัน)จบแล้ว



12. ~ませんでした

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ませんでした
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ませんでした
คำกริยารูปสามารถ (ตัด る) + ませんでした

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปปฏิเสธอดีตแบบสุภาพ

ตัวอย่างการใช้
飲みませんでした
(ฉัน)ไม่ได้ทานยา

昨夜ませんでした
เมื่อคืน(ฉัน)ไม่ได้นอน



13. ~ましょう

รูปแบบการใช้
คำกริยากลุ่มที่ 1 (ผันตัวท้ายเป็นเสียงสระอิ) + ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 2 (ตัด る) + ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 3 する เปลี่ยนเป็น ましょう
คำกริยากลุ่มที่ 3 くる เปลี่ยนเป็น ましょう

ความหมายในการใช้
ทำให้คำกริยาอยู่ในรูปชักชวนแบบสุภาพ

行きましょう
ไปกันเถอะ

遊びましょう
มาเล่นกันเถอะ

やりましょう
ทำกันเถอะ



สรุป
ます, ません, ました, ませんでした, ましょう
ทั้งหมดนี้ใช้เติมหลังคำกริยาทำให้อยู่ในรูปสุภาพ
โดย ます ใช้สื่อถึงสื่งที่จะทำในปัจุบัน และอนาคต
ません ใช้ปฏิเสธการกระทำในปัจจุบัน และอนาคต
ました ใช้สื่อถึงสิ่งที่ทำลงไปแล้วในอดีต
ませんでした ใช้สื่อถึงสิ่งที่ไม่ได้ทำในอดีต
ましょう ใช้ในการชักชวนผู้อื่นให้มาร่วมทำกริยานั้นๆ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น