วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 1 : รู้จักกับตัวอักษรในภาษาญี่ปุ่น

ในระบบการเขียนของภาษาญี่ปุ่นมีการใช้ตัวอักษรร่วมกัน 3 ชุด คือ
  1. ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな) 
  2. ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
  3. ตัวอักษรคันจิ(漢字)
ตัวอักษรฮิรางานะ(平仮名・ひらがな
ใช้สำหรับเขียนคำในภาษาญี่ปนที่ไม่สามารถเขียนเป็นตัวคันจิได้ และคำช่วย
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้

あ อะ aい อิ iう อุ uえ เอะ eお โอะ o
か คะ kaき คะ kiく คุ kuけ เคะ keこ โคะ ko
さ สะ saし ชิ shiす สุ suせ เสะ seそ โสะ so
た ทะ taち จิ chiつ ทสึ tsuて เทะ teと โทะ to
な นะ naに นิ niぬ นุ nuね เนะ neの โนะ no
は ฮะ haひ ฮิ hiふ ฟุ fuへ เฮะ heほ โฮะ ho
ま มะ maみ มิ miむ มุ muめ เมะ meも โมะ mo
や ยะ yaゆ ยุ yuよ โยะ yo
ら ระ raり ริ riる รุ ruれ เระ reろ โระ ro
わ วะ waを โอะ wo
ん อึน n

นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น ดังตารางต่อไปนี้

が กะ gaぎ กิ giぐ กุ guげ เกะ geご โกะ go
ざ ซะ zaじ จิ ziず ซึ zuぜ เซะ zeぞ โซะ zo
だ ดะ daぢ ดิ diづ ดึ duで เดะ deど โดะ do
ば บะ gaび บิ biぶ บุ buべ เบะ beぼ โบะ bo
ぱ ปะ paぴ ปิ piぷ ปุ puぺ เปะ peぽ โปะ po

และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ ดังตารางต่อไปนี้

きゃ เคียะ kyaきゅ คิว kyuきょ เคียว kyo
しゃ ฉะ shaしゅ ชุ shuしょ โชะ sho
ちゃ จะ chaちゅ จุ chuちょ โจะ cho
にゃ เนียะ nyaにゅ นิว nyuにょ เนียว nyo
ひゃ เฮียะ hyaひゅ ฮิว chuひょ เฮียว hyo
みゃ เมียะ myaみゅ มิว myuみょ เมียว myo
りゃ เรียะ ryaりゅ ริว ryuりょ เรียว ryo
ぎゃ เกียะ gyaぎゅ กิว gyuぎょ เกียว gyo
じゃ จะ jaじゅ จุ juじょ โจะ jo
ぢゃ เดียะ dyaぢゅ ดิว dyuぢょ เดียว dyo
びゃ เบียะ bya びゅ บิว byuびょ เบียว byo
ぴゃ เปียะ pya びゅ พิว pyu ぴょ เปียว pyo

ถึงตรงนี้
.
.
.
พักหายใจกันก่อน
ถ้าพร้อมแล้ว
ค่อยมาลุยกันต่อ
.
.
.
มา

ตัวอักษรคาตาคานะ(片仮名・カタカナ)
ใช้สำหรับเขียนคำยืมจากภาษาต่างประเทศ ที่ไม่ใช่คำจากภาษาจีน
มีด้วยกันทั้งหมด 46 ตัว โดยตัวอักษร 1 ตัวจะใช้แทนเสียง 1 พยางค์ ดังตารางต่อไปนี้

ア อะ aイ อิ iウ อุ uエ เอะ eオ โอะ o
カ คะ kaキ คะ kiク คุ kuケ เคะ keコ โคะ ko
サ สะ saシ ชิ shiス สุ suセ เสะ seソ โสะ so
タ ทะ taチ จิ chiツ ทสึ tsuテ เทะ teト โทะ to
ナ นะ naニ นิ niヌ นุ nuネ เนะ neノ โนะ no
ハ ฮะ haヒ ฮิ hiフ ฟุ fuヘ เฮะ heホ โฮะ ho
マ มะ maミ มิ miム มุ muメ เมะ meモ โมะ mo
ヤ ยะ yaユ ยุ yuヨ โยะ yo
ラ ระ raリ ริ riル รุ ruレ เระ reロ โระ ro
ワ วะ waヲ โอะ wo
ン อึน n

นอกจากตัวอักษรในตารางข้างต้นแล้ว 
ยังมีการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) กับ "มารุ" (วงกลม) ด้านขวาบนของตัวอักษรในบางวรรค 
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงขุ่น เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้

ガ กะ gaギ กิ giグ กุ guゲ เกะ geゴ โกะ go
ザ ซะ zaジ จิ ziズ ซึ zuゼ เซะ zeゾ โซะ zo
ダ ดะ daヂ ดิ diヅ ดึ duデ เดะ deド โดะ do
バ บะ gaビ บิ biブ บุ buベ เบะ beボ โบะ bo
パ ปะ paピ ปิ piプ ปุ puペ เปะ peポ โปะ po

และนอกจากการเติม "เตนเตน" (ขีดสองขีด) หรือ "มารุ" (วงกลม)
ยังมีการเติม ゃ,ゅ,ょต่อท้ายตัวอักษรบางตัวในแถวเสียง "อิ" ของทัั้งสองตารางก่อนหน้า
ทำให้เกิดเป็นตัวอักษรเสียงควบ เช่นเดียวกันกับตัวอักษรฮิรางานะ ดังตารางต่อไปนี้

キャ เคียะ kyaキュ คิว kyuキョ เคียว kyo
シャ ฉะ shaシュ ชุ shuショ โชะ sho
チャ จะ chaチュ จุ chuチョ โจะ cho
ニャ เนียะ nyaニュ นิว nyuニョ เนียว nyo
ヒャ เฮียะ hyaヒュ ฮิว chuヒョ เฮียว hyo
ミャ เมียะ myaミュ มิว myuミョ เมียว myo
リャ เรียะ ryaリュ ริว ryuリョ เรียว ryo
ぎゃ เกียะ gyaぎゅ กิว gyuぎょ เกียว gyo
じゃ จะ jaじゅ จุ juじょ โจะ jo
ぢゃ เดียะ dyaぢゅ ดิว dyuぢょ เดียว dyo
びゃ เบียะ byaびゅ บิว byuびょ เบียว byo
ぴゃ เปียะ pyaびゅ พิว pyuぴょ เปียว pyo

ตัวอักษรคันจิ (漢字)
เป็นตัวอักษรภาพที่ยืมมาจากจีน โดยตัวอักษร 1 ตัว จะใช้แทนคำ 1 ความหมาย เช่น
  • 人 แทนคำว่า "คน"
  • 犬 แทนคำว่า "สุนัข"
  • 木 แทนคำว่า "ต้นไม้"
  • 水 แทนคำว่า "น้ำ"
  • 月 แทนคำว่า "ดวงจันทร์"
การอ่านตัวอักษรคันจิ
สามารถอ่านได้ทั้งแบบญี่ปุ่น (คุงโยมิ) โดยจะไปพ้องเสียงกับคำดั้งเดิมในภาษาญี่ปุ่น
และแบบจีน (องโยมิ) โดยจะไปพ้องเสียงกับคำในภาษาจีน เช่น
  • 人 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า ひと อ่านแบบจีนได้ว่า じん หรือ にん
  • 犬 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า いぬ อ่านแบบจีนได้ว่า けん
  • 木 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า き     อ่านแบบจีนได้ว่า もく หรือ ぼく
  • 水 อ่านแบบญี่ปุ่นได้ว่า みず อ่านแบบจีนได้ว่า すい
- จบบทที่ 1 -

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น