วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 2-3 : คำกริยาในภาษาญี่ปุ่น (2)

เทคนิคการจำคู่อกรรมกริยากับสกรรมกริยา

1. อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงสระอะ + る
    จะมีคู่่สกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงสระเอะ + る

    เช่น 下がる (さがる) ลงมาที่ต่ำ
           下げる (さげる) วางลง,ทำให้ลดต่ำลง
           上がる (あがる) ขึ้นไปที่สูง
           上げる (あげる) ยกขึ้น,ทำให้สูงขึ้น

2. อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง いる
    จะมีคู่สกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง おす

 เช่น 起きる (おきる) ตื่นขึ้นมาเอง
           起こす (おこす) ทำให้ตื่น,ปลุก
           降りる (おりる) ลงจากรถเอง
           降ろす (おろす) ให้ลงรถ,ยกลง

3. อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง れる
 จะมีคู่สกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง

 เช่น 壊れる (こわれる) เสียหาย,แตก,พัง
           壊す (こわす) ทำพัง,ทำลาย
           隠れる (かくれる) ซ่อนตัวเอง
           隠す (かくす) เอาบางอย่างไปซ่อน

4, อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง る
 จะมีคู่สกรรมกริยาที่ลงท้านด้วยเสียง す

 เช่น 帰る (かえる) กลับบ้านด้วยตัวเอง
           帰す (かえす) ปล่อยคนอื่นกลับบ้าน
           直る (なおる) ถูกซ่อม,กลับมาใช้ได้
           直す (なおす) ซ่อมให้กลับใช้ได้

5. อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงสระอุ
    จะมีคู่สกรรมกริยาลงท้ายด้วยเสียงเอะ + る

 เช่น 進む (すすむ) คืบหน้า(ด้วยตัวเอง)
           進める (すすめる) ทำให้คืบหน้า
           点く (つく) ไฟเปิดขึ้นเอง
           点ける (つける) กดเปิดไฟ

6. อกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงสระอุ
    จะมีคู่สกรรมกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียงสระอะ + す

 เช่น 減る (へる) ลดจำนวนลงเอง
           減らす (へらす) ทำให้ลดจำนวนลง
           動く (うごく) ขยับตัวเอง
           動かす (うごかす) ขยับบางอย่าง

จะเห็นได้ว่าอกรรมกริยานั้นเป็นสภาพการกระทำที่เกิดขึ้นกับตัวของประธานเองเลยไม่จำเป็นต้องมีกรรมมารองรับ ส่วนสกรรมกริยานั้นจะเป็นการที่ประธานกระทำต่อบางสิ่งจึงจำเป็นต้องมีกรรมมารองรับ

วิธีผันคำกริยาให้อยู่ในรูปต่างๆ

1. การผันคำกริยาเป็นรูปปฏิเสธทั่วไป 
    (V-ない)

   คำกริยากลุ่มที่ 1 
   ผันโดยการเปลี่ยนเสียงสระอุที่อยู่ตัวท้ายสุด
   ให้เป็นเสียงสระอะ ยกเว้น う จะเปลี่ยนเป็น  
   จากนั้นให้เติม ない ต่อท้าย

ตัวอย่าง
พูดわないไม่พูด
ยืนたないไม่ยืน
分かเข้าใจ分からないไม่เข้่าใจ
เขียนかないไม่เขียน
ว่ายน้ำがないไม่ว่ายน้ำ
ตายなないไม่ตาย
เที่ยวเล่นばないไม่เที่ยวเล่น
อ่านまないไม่อ่าน
คุยさないไม่คุย

 หมายเหตุ คำกริยา ある ที่แปลว่า "มี(ใช้กับสิ่งของ)" จะผันเป็น ない แปลว่า "ไม่มี"

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม ない ต่อท้าย

ตัวอย่าง
起きตื่น起きないไม่ตื่น
มี,อยู่ないไม่มี,ไม่อยู่
感じรู้สึก感じないไม่รู้สึก
นอนないไม่นอน
食べกิน食べないไม่กิน
見えเห็น見えないไม่เห็น

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る(くる)
   เป็น 来ない (こない)
   และเปลี่ยน する เป็น しない

ตัวอย่าง
くるมาこないไม่มา
するทำしないไม่ทำ

2. การผันคำกริยาเป็นรูปสุภาพ 
    (V-ます)
     
   คำกริยากลุ่มที่ 1
   ผันโดยการเปลี่ยนเสียงสระอุที่อยู่ตัวท้ายสุด
   เป็นเสียงสระอิ จากนั้นให้เติม ます ต่อท้าย

ตัวอย่าง
พูดいます
ยืนちます
เข้าใจ分か分かります
เขียนきます
ว่ายน้ำぎます
ตายにます
เที่ยวเล่นびます
อ่านみます
คุยします

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด る ที่อยู่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม ます

ตัวอย่าง
ตื่น起き起きます
มี,อยู่ます
รู้สึก感じ感じます
นอนます
กิน食べ食べます
เห็น見え見えます

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る (くる)
   เป็น 来ます (きます)
   และเปลี่ยน する เป็น します

ตัวอย่าง
มาくる来ます
ทำするします

V-ます นั้นสามารถผันต่อได้อีก ดังนี้

- ผันเป็นรูปอดีตสุภาพโดยการเปลี่ยน ます
   เป็น ました

ตัวอย่าง
書きますเขียน書きましたเขียนแล้ว
読みますอ่าน読みましたอ่านแล้ว
起きますตื่น起きましたตื่นแล้ว
ますนอนましたนอนแล้ว
ますมาましたมาแล้ว
ますทำますทำแล้ว

- ผันเป็นรูปปฏิเสธสุภาพโดยการเปลี่ยน ます 
   เป็น ません

ตัวอย่าง
書きますเขียน書きませんไม่เขียน
読みますอ่าน書きませんไม่อ่าน
起きますตื่น起きませんไม่ตื่น
ますนอนませんไม่นอน
ますมาませんไม่มา
ますทำませんไม่ทำ

- ผันเป็นรูปอดีตปฏิเสธสุภาพโดยการเปลี่ยน ます 
   เป็น ませんでした

ตัวอย่าง
書きますเขียน書きませんでしたไม่ได้เขียน
読みますอ่าน読みませんでしたไม่ได้อ่าน
起きますตื่น起きませんでしたไม่ได้ตื่น
ますนอน寝ませんでしたไม่ได้นอน
ますมาきませんでしたไม่ได้มา
ますทำしませんでしたไม่ได้ทำ

ยังมีรูปแบบการผันอื่นๆ อีกมากมาย เอาไว้จะมาให้ความรู้ต่อเนื่องในบทความต่อๆ ไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น