วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 2-3 : คำกริยาในภาษาญี่ปุ่น (3)

3. การผันคำกริยาเป็นรูปอดีตทั่วไป
    (V-た)

   คำกริยากลุ่มที่ 1
   แยกวิธีการผันออกเป็น 5 กลุ่มย่อย 
    โดยให้สังเกตดูที่เสียงตัวท้ายสุด
 แล้วผันเปลี่ยนเสียงตัวอักษร ดังนี้
  • ถ้าเป็น , , ให้เปลี่ยนเป็น った
  • ถ้าเป็น ให้เปลี่ยนเป็น いた
  • ถ้าเป็น ให้เปลี่ยนเป็น いだ
  • ถ้าเป็น ぬ, ぶ, む ให้เปลี่ยนเป็น んだ
  • ถ้าเป็น ให้เปลี่ยนเป็น した
ตัวอย่าง
พูดったพูดแล้ว
ยืนったยืนแล้ว
分かเข้าใจ分かったเข้าใจแล้ว
เขียนいたเขียนแล้ว
ว่ายน้ำいだว่ายน้ำแล้ว
ตายんだตายแล้ว
เที่ยวเล่นんだเที่ยวเล่นมาแล้ว
อ่านんだอ่านแล้ว
คุยしたคุยแล้ว

หมายเหตุ คำกริยา 行く ที่แปลว่า "ไป"  ในรูปอดีตนั้นจะผันเป็น 行った แปลว่า "ไปแล้ว"

   คำกริยากลุ่มที่ 2
   ผันโดยการตัด る ที่อยู่่ตัวท้ายสุดออก
   แล้วเติม た ต่อท้าย

ตัวอย่าง
起きตื่น起きตื่นแล้ว
มี,อยู่เคยมี,เคยอยู่
感じรู้สึก感じรู้สึกแล้ว
นอนนอนแล้ว
食べกิน食べกินแล้ว
見えเห็น見えเห็นแล้ว

   คำกริยากลุ่มที่ 3
   ผันโดยการเปลี่ยน 来る (くる)
   เป็น 来た (きた)
   และเปลี่ยน する เป็น した


ตัวอย่าง
くるมาきたมาแล้ว
するทำしたทำแล้ว

4. การผันคำกริยาเป็นรูปอดีตปฏิเสธทั่วไป
    (V-なかった)

ให้ผันจาก V-ない โดยการตัด い ที่อยู่ตัวท้ายสุด
แล้วเติม かった ต่อท้าย

ตัวอย่าง
書かないไม่เขียน書かなかったไม่ได้เขียน
読まないไม่อ่าน読まなかったไม่ได้อ่าน
起きないไม่ตื่น起きなかったไม่ได้ตื่น
寝ないไม่นอน寝なかったไม่ได้นอน
こないไม่มาこなかったไม่ได้มา
しないไม่ทำしなかったไม่ได้ทำ

5. วิธีการผันคำกริยาเป็นรูป て
    (V-て)

ให้ผันจาก V-た โดยเปลี่ยน た เป็น て
ซึ่งใช้ในการบอกให้ทำแบบเป็นกันเอง
ในกรณีที่อยู่ท้ายสุดของประโยค
และใช้ในการเชื่อมคำกริยานี้กับคำอื่นๆ
ที่ตามมาในรูปไวยากรณ์ต่างๆ

ตัวอย่าง
書いたเขียนแล้ว書いてเขียนสิ
読んだอ่านแล้ว読んでอ่านสิ
起きたตื่นแล้ว起きてตื่นสิ
寝たนอนแล้ว寝てนอนสิ
きたมาแล้วきてมาสิ
したทำแล้วしてทำสิ

สำหรับบทความนี้ขอพักไว้เพียงแค่นี้ก่อน ไว้จะมาสอนวิธีการผันคำกริยาในรูปแบบอื่นๆ ต่อเนื่องในบทความหน้านะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น